วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

แบบฝึกหัดบทที่ 6 ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย

 แบบฝึกหัดบทที่ 6 ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
     1. ระบบเครือข่ายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์มีอิทธิพลต่อการพัฒนา และการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจอย่างไร
ตอบ พัฒนาการของระบบเครือข่ายสื่อสาร ช่วยให้การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานขยายตัวซับซ้อนและครอบคลุมมากขึ้น ปัจจุบันการจัดการและประมวลผลข้อมูลมิได้จำกัดตัวอยู่ที่ส่วนหนึ่งขององค์การ หน่อยงานต่าง ๆ สามารถใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ระบบเทศโนโลยีระบบเครือข่ายยังสร้างเอกภาพ ความถูกต้องความทันสมัย และความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้ระบบเครือข่ายสามารถใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพร่วมกัน ซึ่งจะเป็นการสร้างประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ
      2. ระบบเครือข่ายแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ ระบบเครือข่ายแบ่งอกเป็น 4 ชนิด
               1. ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่
               2. ระบบเครือข่ายเขตเมือง
              3. ระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่
              4. ระบบเครือข่ายระหว่างประเทศ
             
     3.ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (LAN)และระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่(WAN)มีความ แตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ ( LAN) เป็นระบบที่ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อย่าระยะใกล้เข้าด้วยกัน เช่น ภายในหน่วยงานอาคาร หรือสถาบันเดียวกัน เป็นต้น
        ส่วนระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่ (WAA)เป็นระบบเครือข่ายที่ต่อเชื่อมและครอบคลุมพื้นที่กว้างพอสมควร เช่น รอบเมือง หรือรอบจังหวัด การติดต่อสื่อสารมักจะใช้แก้วนำแสง ลวดทองแดง วิทยุ และโทรศัพท์ มาเป็นสื่อกลางสำหรับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลตามความเหมาะสมของสถานการณ์ และต้นทุนการดำเนินงาน
      4. จงเปรียบเทียบคุณสมบัติและประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ช่องทางสื่อสารข้อมูล มี 2 ชนิดคือ การสื่อสารแบบมีสายและระบบสื่อสารแบบไร้สาย
         การสื่อสารแบบมีสายเป็นการสื่อสารข้อมูลผ่านสายนำสัญญาณ คือ สายโทรศัพท์ เป็นต้น
         ระบบสื่อสารแบบไร้สาย เป็นการสื่อสารโดยการแปรรูปสัญญาณและส่งสัญญาณผ่านในอากาศ โดยไม่มีสายนำสัญญาณเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร ปัจจุบันระบบสื่อสารแบบไร้สายที่ได้รับความนิยม
     5. รูปแบบของโทโปโลยีของเครือข่ายแบ่งออกเป็นกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ รูปแบบของโทโปโลยีของเครือข่ายมี 4 แบบ
      1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
             2. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology )
            3. โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology )
            4. โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)
     6. ช่องทางการติดต่อสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้าง
ตอบ ช่องทางการติดต่อสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
               1. การสื่อสารแบบมีสาย (Wired Trasmission Systsms)
-            สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์ (Twisted Pair)
-                          สายโคแอกเซียล (Coaxiai Cable)
-                         สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)
        2.ระบบสื่อสารแบบไร้สาย (Wieless Transmission Systsms)
            - คลื่นสั้น (Microwave)
            - ดาวเทียม (Satellite Systsms)
7. สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์ สายโคแอกเซียม และสายใยแก้วนำแสง มีความแตกต่างกันอย่างไร
        ตอบ สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์ (Twisted Pair) ประกอบด้วยเส้นลวด 2 เส้นพันกันเป็นเกลียว โดยมีฉนวนห่อหุ้มเส้นลวดเกลียวคู่แต่ละไว้ เหตุที่เส้นลวดพันกันเป็นเกลียดก็เพื่อลดเสียงรบกวน การส่งข้อมูลด้วยสายเกลียวคู่นี้มักเป็นการส่งสัญญาเสียง
                สายโคแอกเซียล มีลักษณะเป็นสายทรงกระบอกที่ทำด้วยทองแดง และมีลวดตัวนำอยู่ตรงกลาง
ระหว่างลวดตัวนำและทองแดงมีฉนวนห่อหุ้มโคแอกซ์ สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็ว
                สายใยนำแก้ว มีลักษณะเป็นเส้นบาง ๆ คล้ายเส้นใยแก้ว โดยข้อมูลจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณแสงและส่งผ่านตามเส้นใยด้วยความเร็วแสง จึงทำให้เส้นใยนำแสงสามารถส่งข้อมูลจำนวนมกได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน ทนทาน
     8. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างสัญญาณแบบแอนะล็อกับสัญญาณแบบดิจิตอล
ตอบ สัญญาณแบบแอนะล็อก จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ระดับของสัญญาณจะเปลี่ยนแปลงสูงหรือต่ำอย่างต่อเนื่อง ที่ทุกๆ ค่าเปลี่ยนแปลงไปของระดับสัญญาณจะมีความหมาย
        สัญญาณแบบดิจิตอล จะประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียงสองค่า คือสัญญาณระดับสูงและสัญญาณระดับต่ำสุด ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสูงกว่าแอนะล็อก

แบบฝึกหัดบทที่ 5 ระบบฐานข้อมูล

บทที่ 5 ระบบฐานข้อมูล
1.            เราสามารถจำแนกการจัดการแฟ้มข้อมูลออกเป็นกี่แบบ อะไรบ้าง?
ตอบ    2 แบบ  คือ
1 . การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ  (sequential  File  Organization)
2 . การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม  (Random  File  Organization  )
2.            จงอธิบายความหมาย ตลอดจนข้อดีและข้อจำกัดของการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ตอบ      - การเข้าถึงข้อมูลแบบรวดเร็ว  เนื่องจากผู้ใช้สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง  ไม่ต้องผ่านแฟ้มข้อมูลอื่น เหมือนการจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ
- สะดวก ในการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย  เนื่องจากการปรับ ปรุงข้อมูลทำได้โดยง่าย  ไม่จำเป็นจะต้องเรียงลำดับ หรือรอเวลา
- มีความยืดหยุ่นและเหมาะสมกับงาน  ที่ต้องการประมวลผลแบบโต้ตอบ ตลอด จนมีระยะเวลาในการประมวลผลไม่แน่นอน
  แต่วิธีการจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มจะมีข้อจำกัดดังตอบไปนี้
-ข้อมูล มีโอกาสผิดพลาดและสูญหาย  เนื่องจากการดำเนินงานมี ความยืดหยุ่น  ถ้าขาดการจัดการที่เป็นระบบละมี ประสิทธิภาพ  อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดเก็บ  ความถูกต้องและความแน่นอนของแฟ้มข้อมูล
- การเปลี่ยนแปลงจำนวนระเบียนจะทำได้ลำบากกว่าวิธีเรียงลำดับ เนื่องจากต้องจัดรูปแบบความสัมพันธ์ขึ้นใหม่
- มีค่าใช้จ่ายสูง  เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ที่มี เทคโนโลยีสูง  และผู้ใช้ต้องมีทักษะในการทำงาน มากกว่าแฟ้มข้อมูลระบบเรียงลำดับ
3.            ฐานข้อมูลคืออะไร และเหตุใดจึงมีความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน?
ตอบ    ฐาน ข้อมูล  (Database)  หมาย ถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีแบบแผน    ที่ใดที่หนึ่งในองค์การ  เพื่อ ที่ผู้ใช้จะสามารถนำข้อมูลมาประมวลผล  และประยุกต์ ใช้งานตามที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ตัวอย่าง เช่น  องค์การจะมีบานข้อมูลของบุคลากรซึ่งเก็บข้อมูล ของพนังงานไว้รวมกัน
4.            เราสามารถจำแนกแบบจำลองโครงสร้างข้อมูลเชิงตรรกะออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง?
ตอบ  3 ประเภท  คือ
1 . แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น (Hiearchical  Data  Model )
2 . แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย(Network  Data  Model  )
3 . แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์  (Relational  Data  Model  )
5.            จงเปรียบเทียบประโยชน์ในการใช้งานของแบบจำลองโครงสร้างข้อมูลแต่ละประเภท?
ตอบ      5.1. ชนิดของแบบจำลอง
เชิงลำดับขั้น    เครือข่าย          เชิงสัมพันธ์
           
                       5.2. ประสิทธิภาพการทำงาน
สูง                   ค่อน ข้างสูง                 ต่ำ (กำลังพัฒนา)
          5.3. ความยืดหยุ่น
ต่ำ                     ค่อน ข้างต่ำ                สูง หรือต่ำ
          5.4. ความสะดวกต่อการใช้งาน

             ต่ำ                    ปานกลาง                    สูง
6.            ระบบจัดการฐานข้อมูลคืออะไร มีส่วนประกอบอะไรบ้าง?
ตอบ  ระบบจัดการฐานข้อมูล  หมายถึง  ชุดคำสั่งซึ่งทำหน้าที่ สร้าง ควบคุม  และดูแลระบบ ฐานข้อมูล   เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล  คัดเลือกข้อมูล  และสามารถนำ ข้อมูลนั้นมาใช้งานไดอย่างมีประสิทธิภาพ  โดย ที่  DBMS จะทำหน้าที่เสมือน ตัวกลางระหว่างชุดคำสั่งสำหรับการใช้งานต่างๆ  กับ หน่วยเก็บข้อมูล  ซึ่ง DBMS ประกอบ ด้วยส่วนประกอบหลักที่สำคัญอยู่  3ส่วน คือ
1 . ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data  Definifion  Language ;DDL  )
2 . ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูล  ( Data Manipuiation  Language; DML  )
3 . พจนานุกรมข้อมูล  (Data  Dictionary  )
7.            จงอธิบายความหมายและประโยชน์ของพจนานุกรมข้อมูล
ตอบ  ผู้ที่ ต้องเกี่ยวข้องกับระบบจัดการฐานข้อมูล  เพราะจะช่วย ให้สามารถศึกษาและทำความเข้าใขระบบได้ง่าย
8.            นักบริหารฐานข้อมูลมีหน้าที่สำคัญอะไรบ้าง?
ตอบ        1. กำหนดและจัดระเบียบโครงสร้างฐานข้อมูล
 2 . พัฒนาขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
 3 . จัดทำหลักฐานข้อมูลให้ทำงานอย่างปกติ
 4 . ดูแลรักษาระบบฐานข้อมูลทำงานอย่างปกติ
 5 . ประสานงานกับผู้ใช้
9.            เหตุใดบางองค์การจึงต้องมีหัวหน้างานด้านสารสนเทศ (CIO) และ CIO มีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร?
ตอบ   เพื่อ ความคล่องตัวในการบริหารงานและการให้บริการด้านข้อมูลสารสนเทศ  การที่องค์การเลือกใช้วิธีการจัดหน่วยงานบริหารข้อมูลแบบ ใด  ย่อมขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน  และปัจจัยแวดล้อมเป็นสำคัญ

10.    จงอธิบายแนวโน้มของเทคโนโลยีฐานข้อมูลในอนาคต
ตอบ  ระบบ ฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์  (Centralized Database System)”ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่อง และยังคงได้รับความนิยมอยู่ในปัจจุบัน เนื่องจาก ความสะดวกในการจัดการและคุณสมบัติของเทคโนโลยี   ทำ ให้ระบบฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ได้รับการปรับปรุงและพัฒนาขึ้นตามลำดับ